รายการอย่างอื่นที่น่าสนใจ
พระพุทธรูปเนื้อหินทรายแกะ ยุคสมัยอาณาจักรทวาราวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 12-16 พร้อมบัตรรับรองสมาคมฯ
หมายเลข : 8309
พระพุทธรูปเนื้อหินทรายแกะ ยุคสมัยอาณาจักรทวาราวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 12-16 พร้อมบัตรรับรองสมาคมฯ
 
พระกริ่ง หลวงพ่อจาด วัดบางกระเบา จ.ปราจีนบุรี ออกวัดบางหอย พิมพ์ใหญ่ ปี2485 ติดรางวัลที่ 1 สามงาน
หมายเลข : 5685
พระกริ่ง หลวงพ่อจาด วัดบางกระเบา จ.ปราจีนบุรี ออกวัดบางหอย พิมพ์ใหญ่ ปี2485 ติดรางวัลที่ 1 สามงาน
 
พระสมเด็จวัดระฆังโฆสิตาราม กรุงเทพ รุ่นอนุสรณ์ 214ปีเกิด สมเด็จพุฒาจารย์โต พิมพ์พระประธาน ปี2545 หลวงปู่หมุน วัดบ้านจาน ร่วมเสก พร้อมกล่องเดิม
หมายเลข : 7875
พระสมเด็จวัดระฆังโฆสิตาราม กรุงเทพ รุ่นอนุสรณ์ 214ปีเกิด สมเด็จพุฒาจารย์โต พิมพ์พระประธาน ปี2545 หลวงปู่หมุน วัดบ้านจาน ร่วมเสก พร้อมกล่องเดิม
 
พระพิมพ์เม็ดน้อยหน่า เนื้อดิน กรุวัดพระแก้ว จ.กำแพงเพช ประมาณพุทธศตวรรษที่ 18-19
หมายเลข : 8061
พระพิมพ์เม็ดน้อยหน่า เนื้อดิน กรุวัดพระแก้ว จ.กำแพงเพช ประมาณพุทธศตวรรษที่ 18-19
 
หลวงพ่อทวดทอง พิมพ์เล็บมือหลังยันต์ วัดน้ำน้อยใน จังหวัดสงขลา ปี2505 อาจารย์ทิมวัดช้างให้ ร่วมปลุกเสก
หมายเลข : 8488
หลวงพ่อทวดทอง พิมพ์เล็บมือหลังยันต์ วัดน้ำน้อยใน จังหวัดสงขลา ปี2505 อาจารย์ทิมวัดช้างให้ ร่วมปลุกเสก
 
พระพิมพ์ซุ้มเรือนแก้ว เนื้อชินเงิน กรุวัดราชบูรณะ จ.พระนครศรีอยุธยา สมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราช ที่ 2 (เจ้าสามพระยา) ประมาณพุทธศตวรรษที่ 20
หมายเลข : 7710
พระพิมพ์ซุ้มเรือนแก้ว เนื้อชินเงิน กรุวัดราชบูรณะ จ.พระนครศรีอยุธยา สมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราช ที่ 2 (เจ้าสามพระยา) ประมาณพุทธศตวรรษที่ 20
 

eXTReMe Tracker


แหล่งข้อมูล สาระ พระเครื่อง พระบูชา วัตถุมงคล ของสะสม
 ค้นหาบทความ    

พระเจ้าใหญ่อินทร์แปลง วัดมหาวนาราม (วัดป่าใหญ่) อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

พระเจ้าใหญ่อินทร์แปลง เป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองจังหวัดอุบลราชธานีมาตั้งแต่สมัยรัตนโกสินทร์ กล่าวกันว่าเป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์เป็นที่เคารพสักการะของชาวจังหวัดอุบลราชธานีและจังหวัดใกล้เคียง ประดิษฐานอยู่ ณ วัดมหาวนาราม หรือที่ชาวบ้านมักเรียกกันโดยทั่วไปว่า วัดป่าใหญ่ ซึ่งนับว่าเป็นวัดเก่าแก่ที่สร้างมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2322 หรือในสมัยกรุงธนบุรี

ตามประวัติวัดมีว่า แต่เดิมนั้นเป็นสำนักสงฆ์ฝ่ายวิปัสสนามาก่อน ต่อมาในสมัย พระพรหมวรราชสุริยวงศ์ เจ้าเมืองอุบลราชธานีคนที่ 2 ได้สร้างและยกฐานะสำนักสงฆ์นี้ขึ้นเป็นวัดให้ชื่อว่า วัดป่าหลวงมณีโชติ ซึ่งต่อมาสมเด็จพระมหาวีระวงศ์ (อ้วน ติสโส) ได้ขนานนามวัดใหม่ว่า วัดมหาวนาราม โดยให้คงความหมายเดิมไว้

ภายหลัง พระครูศรีสัทธรรมวงศา เจ้าอาวาสรูปแรกของวัด ได้ร่วมกับชาวบ้านสร้างพระพุทธรูปก่ออิฐถือปูนขนาดใหญ่เพื่อสักการบูชาไว้ที่วัดแห่งนี้และพากันเรียกขานว่า พระเจ้าใหญ่อินทร์แปลง ซึ่งสำเนียงพื้นเมืองเรียกว่า อินแปง ดั่งจารึกที่เห็นอยู่ที่ด้านหลังองค์พระตราบจนปัจจุบัน



พระเครื่อง สิ่งสะสม ทุกรายการ รับประกันความแท้ และ ความพอใจ
Copyright www.collection9.net All Rights Reserved.